วันพุธที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2552

FTTH

FTTH
FTTH “Fiber to the Home คือระบบเส้นใยแสงที่จะทำการส่งผ่านข้อมูลจาก Central Office หรือชุมสายของผู้ให้บริการไปยังบ้านเรือนของผู้ใช้บริการ โดยศักยภาพตามมาตรฐานของ Fiber to the Home ใหม่ล่าสุดที่ใช้กันอยู่ปัจจุบันนี้ คือสามารถส่งข้อมูลไปถึงบ้านของเรา และส่งจากบ้านของเราไปยังชุมสายได้ความเร็วมากที่สุดถึงระดับ 2.5 Giga-bit per second (Gbps) หรือประมาณ 2,500,000,000 บิต / วินาที ถ้าจะให้เห็นภาพคือ ระบบบรอดแบนด์อินเตอร์เน็ตที่เราใช้อยู่ตามบ้านทุกวันนี้คือ ADSL อย่าง High speed Internet ที่บอกว่าความเร็ว 1 Mbps นั่นประมาณ 1,000,000 บิต / วินาที ก็จะเห็นว่า Fiber to the Home เร็วกว่าถึง 2,500 เท่า แล้วอย่างความเร็วของ High speed Internet ผ่านระบบ ADSL นั้น ในส่วนความเร็วของการ Upload นั้นจะต่ำกว่าความเร็วของการ Download แต่ถ้าเป็น Fiber to the Home ทั้ง upload download ความเร็วมากที่สุดจะเท่ากันคือ 2.5 Gbps นอกจากนั้น ADSL นี่สำหรับบ้านที่อยู่ไกลจากชุมสายมากจะได้ความเร็วน้อยลงไปอีก เนื่องจากใช้ข้อมูลที่อยู่ที่ความถี่สูงไม่สามารถวิ่งผ่านสายโทรศัพท์ธรรมดาได้ระยะทางไกล โดยทั่วไปความเร็วของ ADSL จะพอรับประกันได้ในระยะไม่น่าจะเกิน 5 กิโลเมตร ฉะนั้นถ้าบ้านใครไกลจากชุมสายออกไปเกิน 5 กิโลเมตรก็จะใช้ความเร็วได้ไม่เต็มที่ แต่ Fiber to the Home จะรองรับระยะการส่งข้อมูลได้ไกลถึง 20 กิโลเมตรโดยความเร็วไม่ตกลง

ISDN

ISDN

ISDN

ISDN (Integrated Service Digital Network) คือบริการสื่อสารโทรคมนาคมระบบดิจิตอลที่สามารถรับส่งข้อมูลทั้งในระบบภาพ เสียง และข้อมูล ด้วยความเร็ว 128 Kbps ขึ้นไป ข้อดีของการใช้ ISDN คือความน่าเชื่อถือในการรับส่งข้อมูล อุปกรณ์สื่อสารของผู้ใช้บริการไม่ต้องมีการแปลงสัญญาณ (Conversion) ทำให้ความเพี้ยนของสัญญาณมีน้อยมาก ตลอดจนสิ่งรบกวน (Noise) ก็จะลดลงด้วย ทำให้ข้อมูลข่าวสารที่รับส่งในโครงข่าย ISDN มีความถูกต้องไว้ใจได้สูงกว่าแบบเดิม

ลักษณะการใช้งานเหมือนกับการหมุนโทรศัพท์ธรรมดาปกติ คือเสียครั้งละ 3 บาท ก่อนจะใช้คุณต้องหมุนโทรศัพท์ไปที่เบอร์ของ ISP ที่เป็น ISDN ด้วยจึงจะได้ความเร็วของ ISDN ตามที่กำหนด

รูปแบบการใช้บริการ ISDN มี 2 แบบ คือ

1. แบบ BRI (Basic Rate Interface) หรือทางองค์การโทรศัพท์เขาเรียกว่า BAI (Basic Access Interface) เป็นรูปแบบการให้บริการด้วยคู่สายโทรศัพท์ธรรมดาจากชุมสาย ISDN จนถึง อุปกรณ์ปลายทาง คู่สายเพียง

1 คู่สาย สามารถที่จะรองรับอุปกรณ์ปลายทางชนิดต่าง ๆ ได้สูงสูด 8 อุปกรณ์และสามารถใช้งานได้ 2 อุปกรณ์พร้อมกันในเวลาเดียวกัน เนื่องจากภายในคู่สาย ISDN แบบ BRI นี้จะประกอบไปด้วยช่องสัญญาณ

2 ช่องโดยแต่ละช่องสามารถให้บริการด้วยความเร็ว 64 Kbps ทำให้ได้ความเร็วรวมสูงสุดถึง 128 Kbps บริการนี้เหมาะสำหรับธุรกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง

2. แบบ PRI (Primary Rate Interface) เป็นรูปแบบการให้บริการโดยการวางเคเบิลแบบไฟเบอร์ออฟติคไปยังตู้สาขาแบบ ISDN (ISDN PABX) ของผู้เช่าเคเบิลเส้นหนึ่งจะช่องสัญญาณอยู่ 30 ช่อง แต่ละช่องให้บริการด้วยความเร็ว 64 Kbps ซึ่งแต่ละช่องสามารถที่จะรวมสัญญาณเข้าด้วยกันทำให้ได้ความเร็วรวมสูงสุด คือ 2.048 Mbps บริการนี้เหมาะสำหรับธุรกิจขนาดใหญ่

Proxy Server ด้วยรูปแบบข้างต้น ระบบของท่านจะต้องทำการติดตั้ง Proxy Serverเพื่อเป็นตัวกลางในการติดต่อไปยัง Internet โดย Webpage ต่างๆ ที่ถูกเรียกขึ้นมาใช้จะถูกเก็บไว้ใน Proxy Server และเมื่อ User มีการเรียกใช้ Webpage นั้น Webpageดังกล่าวจะปรากฏขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องเสียเวลาถึงข้อมูลจาก Internet มาใหม่

Mail Server การมี mail server ภายในองค์กรเอง เพื่อความคล่องตัวในการจัดการกับ mailbox ของผู้ใช้แต่ละคน โดยสามารถเพิ่มเติม หรือแก้ไขข้อมูลของผู้ใช้ e-mai lภายในองค์กรของท่าน และเนื่องจากระบบท่านเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตตลอดเวลา การรับส่ง mail จึงสามารถทำได้ทันที

DNS Server สำหรับดูแลอินเทอร์เน็ตโดเมนขององค์กร และให้บริการแก่ผู้ใช้ภายในองค์กร

Web Server เพื่อให้บริการข้อมูลบน web site ขององค์กร โดยท่านจะใช้ server ของท่านเองเพื่อความคล่องตัว

สิ่งที่ระบบขององค์กรต้องการ

1. ISDN Moderm
2. ISDN 1 คู่สาย
3. ISDN Router หรือ Computer เพื่อทำเป็น Proxy Server

สิ่งที่ เอเน็ต จัดเตรียมให้

1. โทรศัพท์ 1 คู่สาย และ Access Server 1 Post สำหรับการเชื่อมต่อจากท่าน
2. IP Address สำหรับ Server ของท่านที่จะใช้ในการติดต่อสื่อสารข้อมูล
3. จดทะเบียนอินเทอร์เน็ตโดเมนสำหรับองค์กรท่าน (คิดค่าจดทะเบียน)

X.25

X.25

X.25

X.25 เป็นมาตรฐานการติดต่อที่ยอมรับกันระหว่างประเทศซึ่ง (ITU-T) เป็น ส่วนหนึ่งของระบบโดยเป็นมาตรฐานในระดับท้องถิ่นและอธิบายได้ถึงการ ติดต่ออย่างไรระหว่างตัวผู้ใช้ และอุปกรณ์ที่ใช้รวมทั้งการติดตั้ง. X.25 เป็นระบบที่ถูกออกแบบมาให้ใช้ได้ผลดีโดยไม่คำนึงระบบการติดต่อกับเน๊ตเวิค. ดังนั้นมันจึงถูกใช้ในเน๊ตเวิคแบบ packet-switched (PSNs)โดยมีแคร์เรียเป็นหลัก อย่างเช่นบริษัทโทรศัพท์ต่างๆ. ผู้ใช้บริการจะถูกคิดเงินในราคาที่เป็นพื้นฐานเท่าที่ใช้จริง. มาตรฐานของรูปแบบ X.25 จะอยู่ในรูปแบบของแคร์เรียมาตั้งแต่ปี 1970. ซึ่งในเวลานั้น,ยังมีความต้องการระบบสื่อสารในระดับท้องถิ่นอยู่(WAN)จึง ต้องมีการเตรียมการให้ระบบสามารถรองรับได้กับระบบ data networks(PDNs). X.25 คือตอนนี้ยังถูกดำเนินการโดย ITU-T ให้เป็นมาตรฐานระหว่างประเทศ.

:: ระบบ X.25 ประกอบไปด้วย 3ส่วนคือ Data terminal equipment(DTE),Data circuit-terminating(DCE),และ packet-switching exchange(PSE) . Data terminal equipment คือส่วนท้ายสุดของระบบการติดต่อ X.25 โดยปกติได้แก่ Terminal,PC,หรือ host ของnetwork และตำแหน่งของผู้รับบริการ.DCE เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการติดต่ออย่างเช่น Modem และ Packet switches ซึ่งนั้นเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมโยงระหว่าง DTE และ PSE และยังเป็นตำแหน่งในการสร้างแคร์เรียด้วย.PSEs เป็นสวิตช์ที่ประกอบด้วยแคร์เรียเน็ตเวิคขนาดใหญ่.โดยใช้ส่งข้อมูลจาก DTE หนึ่งไปยังตัวอื่นๆด้วย X.25 ดังรูปที่17-1 เป็นส่วนประกอบทั้ง3 ประเภทของระบบ X.25

Figure 17-1: DTEs, DCEs, and PSEs Make Up an X.25 Network

ข้อตกลงของการติดตั้ง X.25 ::

ข้อตกลงในการติดตั้ง X.25 เมื่ออุปกรณ์ DTE หนึ่งตัวจะทำการติดต่อกับตัวอื่นโดยจะทำการร้องขอต่อส่วนสื่อสาร. โดยอุปกรณ์ DTE จะได้รับการตอบรับข้อตกลงหรือยกเลิกจากการขอเชื่อมโยง.ถ้าการตอบรับเป็นการตกลง ระบบของทั้งสองจะส่งข้อมูลเป็นแบบ Full Duplex.

วงวงจร ในอุดมคติจะเป็นการเชื่อมโยงแบบโลจิกซึ่งจะทำให้อุปกรณ์ทั้ง 2 มีความเสถียร. วงจรในอุดมคติจะไม่ระบุตำแหน่งของสัญญาณโลจิก,เส้นทางการไหลของสัญญาณจาก DTE หนึ่งไปยังตัวอื่นๆโดยผ่านระบบ X.25 . ด้านกายภาพ,การเชื่อมต่อสามารถทำได้โดยผ่านNode ที่อยู่ระหว่างทาง เช่น อุปกรณ์ DCE และ PSEs. วงจรแบบมัลติเปิลชนิดธรรมดา(การเชื่อมต่อทางโลจิก) สามารถเชื่อมต่อหลายๆวงจรให้ไปยังวงจรแบบซิงเกิล(การเชื่อมต่อทางโลจิก)ได้. และก็ทำการแยกออกมาเป็นหลายๆวงจรเมื่อข้อมูลถึงปลายทาง ดังรูปที่ 17-3 สัญญาณทั้ง 4 แชนแนลสามารถนำเข้ามาไว้ยังวงจร แชนแนลเดียวได้

Figure 17-3: Virtual Circuits Can Be Multiplexed onto a Single Physical Circuit
ชนิดของวงจร x.25 ในอุดมคติ คือ switched และ permanent. วงจร switched (SVCs)เป็นการเชื่อมต่อชั่วคราวใช้สำหรับถ่ายข้อมูลเป็นช่วงๆ ซึ่งวงจรที่ใช้ switched ได้แก่วงจร DTE ที่มี 2แหล่ง, maintain และTerminate โดยอุปกรณ์แต่ละอย่างจำเป็นต้องใช้เพื่อการสื่อสารกัน. วงจร permanent (PVCs) เป็นการเชื่อมต่อแบบถาวรใช้สำหรับถ่ายข้อมูลที่การถ่ายโอนการบ่อยๆ ตัวPVCs ไม่ต้องการตัวสร้างและตัว Terminate.ดังนั้นทำให้ตัว DTEทั้งหลายสามารถที่เริ่มทำการส่งข้อมูลเมื่อมีการร้องขอเพราะตัวสร้าง ทำงานตลอดเวลา
การทำงานพื้นฐานของวงจร X.25 ในอุดมคติจะเริ่มเมื่ออุปกรณ์ DTE จำเพาะต้องการใช้(ในหัวข้อpacket)และมีการส่งpacket ไปยังอุปกรณ์ DCE และในตรงจุดนั้นเองอุปกรณ์ DCE จะตรวจสอบ header packet และแจกแจงpacket โดยเลือกวงจรในอุดมคติที่จะใช้ และเมื่อส่ง packet แล้วจะปิด PSE ในเส้นทางของวงจรในอุดมคติไปด้วย. PSEs(switches)จะทำการขนถ่ายไปยังnode อื่นที่อยู่ในระหว่างทางโดยจะเลือก switches หรือเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ DCE.
เมื่อมีการขนถ่ายโดยมีการเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ DCE ,ที่ส่วนหัวของpacket จะมีการตรวจสอบและหาตำแหล่งปลายทางส่วนตัวpacket จะถูกส่งไปยัง DTE ปลายทาง.ถ้ามีการสื่อสารที่มากเกินตัว SVC และอุปกรณ์ใกล้เคียงจะเพิ่มข้อมูลในการส่งเข้าไปในวงจร

โครงรผัง ของ โปรโตคอล X.25 จาก 3 เลเยอร์ล่างสุดของโมดูล OSI ชนิดของเลเยอร์ที่ใช้ใน X.25 ประกอบด้วย Packet-Layer protocol(PLP),Link access Procedure,Balanced(LAPB)และการติดต่อแบบอนุกรมอื่นๆเช่น(EIA/TIA-232,EIA /TIA-449,EIA 530 และG.703)จากรูปที่ 17-4 ผังการสื่อสารของ โปรโตคอล X.25 ที่อยู่ใน ส่วนของโมดูล OSI

Figure 17-4: Key X.25 Protocols Map to the Three Lower Layers of the OSI Reference Model

:: แพ็คเจตและ เลเยอร์โปรโตคอล ::

PLP ในระบบเลเยอร์เน็ตเวิค X.25 ตัว PLP จะเป็นตัวควบคุมแลกเปลี่ยนpacket ระหว่างอุปกรณ์ DTE กับวงจรในอุดมคติ. ตัวPLP สามารถทำงานได้สูงกว่าระดับ Logical link control 2(LLC2) อันได้แก่ ระบบ Lan และ ISDN โดยทำงานในระดับ Link Access Procedure on the D channel (LAPD)
การทำงานของ PLP มีการทำงาน 5 ลักษณ์ คือ call setup,data transfer,idle,call clearing,และ restarting
Call setup mode
จะใช้กันระหว่าง SVCs กับอุปกรณ์ DTE. ตัว PLP จะใช้ใน ตำแหน่งX.121 ในการ ติดตั้งวงจร.ตัว PLP จะทำงานในวงจรพื้นฐานโดยจะเลือกวงจรหลักหนึ่งวงจรที่ใช้ในการเรียก call setup mode ส่วนตัวอื่นจะเป็น data transfer mode. ในวิธีนี้จะใช้กับ SVCs เท่านั้นไม่รวม PVCs.

วันพุธที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

ออกข้อสอบปรัย 30 ข้อ

1.(IPV6) ย่อมาจากอะไร
ก. Internet Protocol Vertion6
ข. Vertion6
ค. Internet Protocol
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ก.
2.โพรโตคอลดังกล่าวทั้งหมดกี่ฉบับ
ก. 1ฉบับ
ข. 2ฉบับ
ค. 3ฉบับ
ง.4ฉบับ
เฉลย ง.
3.CATNIP ย่อมาจากอะไร
ก.(Common Architecture for Next Generation Internet Protocol)
ข.(TCP and UDP with Bigger Addresses)
ค.(Simple Internet Protocol Plus)
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลยก.
4.TUBA ย่อมาจากอะไร
ก.(Common Architecture for Next Generation Internet Protocol)
ข.(TCP and UDP with Bigger Addresses)
ค.(Simple Internet Protocol Plus)
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ข.
5. SIPP ย่อมาจากอะไร
ก.(Common Architecture for Next Generation Internet Protocol)
ข.(TCP and UDP with Bigger Addresses)
ค.(Simple Internet Protocol Plus)
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ค.
6.แนวทางในการพัฒนาIPV6 อย่างเป็นทางการไว้ในเอกสาร RFC 1752 โดยมีประเด็นสำคัญดังนี้
ก.นโยบายการแบ่งสรรหมายเลขไอพีแอดเดรส
ข.ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องเรียกคืนชุดหมายเลขไอพีรุ่นที่ 4 ที่มีการใช้ประโยชน์ต่ำกว่าเกณฑ์กลับคืนมา
ค.- ให้ใช้หลักการแบ่งสรรหมายเลขไอพีคลาส A ที่เหลืออยู่แบบ CIDR
ง.ถูกทุกข้อ
เฉยล ง.
7.โครงการ IPng Area (คณะทำงานที่ถูกแต่งตั้งโดย Internet Engineering Task Force, IETF ในปีค.ศ.ใด
ก.1991
ข.1992
ค.1993
ง.1994
เฉลย ค.
8.คณะทำงาน IPng ถูกก่อตั้งขึ้นโดยใคร
ก.Steve Deering และ Ross Callon ข.adda
ค.Ping
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ก.
9.คณะทำงาน Address autoconfiguration ถูกก่อตั้งและนำทีมโดยใครบ้าง
ก. Ross Callon
ข. Steve Deering
ค. Dave Katz ร่วมกับ Sue Thomson
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ค.
10.โครงการ IPng Area จะสิ้นสุดลงเมื่อปลายพ.ศ.ใด
ก.ปลายปี 1994
ข.ปลายปี 1997
ค.ปลายปี 1995
ง.ปลายปี 1990
เฉลย ก.
11.คุณลักษณะเฉพาะของ IPng APIs คืออะไรบ้าง
ก.ต้องสนับสนุน Authentication header และ algorithm อย่างเฉพาะเจาะจง
ข.ต้องสนับสนุน Privacy header และ algorithm อย่างเฉพาะเจาะจง
ค.ต้องมีการพัฒนาโครงร่างของระบบ Firewall สำหรับ IPng
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.
12.และในช่วงกลางปี 1994 เช่นกัน IPng ได้รับการกำหนดหมายเลขรุ่นโดยหน่วยงานใด
ก.ไม่มีข้อถูก
ข.Internet Assigned Numbers Authority(IANA)
ค.อเมริกา
ง.หน่วยงานจากญี่ปุ่น
เฉลย ข.
13.จากข้อ12.ได้รับเป็นรุ่นที่เท่าไหร่
ก.ให้เป็นรุ่นที่ 6 อันเป็นที่มาของ IPv6
ข.ให้เป็นรุ่นที่ 4 อันเป็นที่มาของ IPv4
ค.ให้เป็นรุ่นที่ 5 อันเป็นที่มาของ IPv5
ง.ให้เป็นรุ่นที่ 7 อันเป็นที่มาของ IPv7
เฉลย ก.
14. เอกสาร RFC1752 ชุดนี้ได้ถูกยอมรับและดำเนินการต่อโดยคณะทำงานภายใต้ IETF ที่ชื่อว่า อะไร
ก. Internet
ข. Engineering
ค.Internet Engineering Steering Group (IESG)
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ค.
15. IP Address มีอยู่กี่ลักษณะ
ก.สองลักษณะด้วยกัน
ข.สามลักษณะ
ค.สี่ลักษณะ
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ก.
16. IP Address มีลักษณะบ้าง
ก. Static IP
ข. IP Address
ค. Dynamic IP
ง. Static IPและ Dynamic IP
เฉลย ง.
17.หน่วยงานที่ทำหน้าที่จัดสรร IP Address เหล่านี้คือ
ก.หน่ายงานจากต่างประเทศ
ข.หน่วยงานภายในประเทศไทย
ค.องค์การระหว่างประเทศที่ชื่อว่า Network Information Center - NIC
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ค.
18. IPv6 ประกอบด้วยเลขฐานสองจำนวนกี่บิต
ก.128 บิต
ข.84 บิต
ค.32 บิต
ง. 16 บิต
เฉลย ก.
19.จุดเด่นของ IPv6 ที่พัฒนาเพิ่มขึ้นมากจาก IPv4 คืออะไร
ก.ขยายขนาด Address ขึ้นเป็น 128 บิต สามารถรองรับการใช้งาน IP Address ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วได้
ข.เพิ่มขีดความสามารถในการเลือกเส้นทางและสนับสนุน Mobile Host
ค.สนับสนุนการทำงานแบบเวลาจริง (real-time service)
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.
20.เฮดเดอร์ของ IPV 6 เทียบกับของ IPV 4 จะสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างอะไรบ้าง
ก.ตำแหน่งที่ตัดออก
ข.ตำแหน่งที่ปรับเปลี่ยน
ค.ตำแหน่งที่เพิ่ม
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.
21.Internet Protocol Vertion6 ย่อมาจาก
ก. IPV6
ข. IPS6
ค. IPT6
ง. IPI6
เฉลย ก.
22. IP Address มีชื่อเต็มว่า
ก. Internet Protocall Address
ข. Internet Protocol Address
ค. Internat Protocall Address
ง. Internets Protocol Address
เฉลย ข.
23. Internet Protocol version ใดที่ใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน
ก. IPv1
ข. IPv2
ค. IPv3
ง. IPv4
เฉลย
24. เหตุใดจึงมีการคิดค้น Internet Protocol version ใหม่ขึ้น
ก. เพราะ IP Address ที่มีอยู่ไม่เพียงพอกับความต้องการของผู้ใช้
ข. เพราะต้องมีการคิดค้นเวอร์ชันใหม่ทุกๆ 3 ปี
ค. เป็นการลงมติเห็นชอบจากเวทีโลก
ง. ไม่มีข้อใดถูก
เฉลย ก.
25. IPv4 และ IPV6 แตกต่างกันอย่างไร
ก. IPv4 มี 128 บิต IPV6 มี 64 บิต
ข. IPv4 มี 128 บิต IPV6 มี 32 บิต
ค. IPv4 มี 32 บิต IPV6 มี 128 บิต
ง. IPv4 มี 32 บิต IPV6 มี 64 บิต
เฉลย ค.
26. ข้อใดผิด
ก. IPV6 ผู้บริหารมีส่วนในการบริหารจัดการงานมากขึ้น
ข. IPV6 ระบบมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น
ค. IPV6 เครือข่ายมีการทำงานแบบ Real Time Processing
ง. IPV6 มีการใช้งานอินเทอร์เน็ตแบบเคลื่อนที่ (Mobile IP)
เฉลย ก.
27. เหตุใดประเทศในแถบอเมริกาเหนือจึงไม่มีความจำเป็นต้องใช้ IPV6
ก. เพราะสังคมเป็นแบบประชาธิปไตย
ข. เพราะมี IP Address ที่กำหนดขึ้นใช้เองเฉพาะชาวอเมริกัน
ค. เพราะมีรากฐานเศรษฐกิจที่มั่นคง
ง. เพราะได้รับการจัดสรร IP Address ไปถึง 70% ของ IP Address ที่ใช้ทั่วโลก
เฉลย
28. ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของการมี IP Address ที่อุปกรณ์อำนวยความสะดวกหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า
ก. สามารถส่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็วในการสื่อสาร
ข. เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้เหมือนคอมพิวเตอร์ โดยที่ไม่ต้องผ่านระบบใดๆ
ค. ทำให้ระบบภายในของอุปกรณ์นั้นๆ เกิดผลเสีย
ง. ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม
เฉลย ค.
29. เหตุใดเราจึงควรศึกษาและทำความเข้าใจในเรื่อง IPV6
ก. เพราะหาก IPv4 ถูกใช้หมดไป IPV6 เป็นสิ่งที่จะแก้ปัญหานี้ได้
ข. เพื่อเตรียมตัวรับมือกับสถานการณ์ในอนาคต
ค. เพื่อความได้เปรียบทางธุรกิจและโอกาสในหลายๆ ด้าน
ง. ถูกต้องทุกข้อ
เฉลย
30. IPV6 มีการเชื่อมต่อภายในประเทศกี่องค์กร
ก. 4 องค์กร
ข. 3 องค์กร
ค. 2 องค์กร
ง. 5 องค์กร
เฉลย ก.
31. IPV6 มีขนาดเท่ากับกี่บิต
ก. 128 บิต
ข. 56 บิต
ค. 24 บิต
ง. 32 บิต
เฉลย
32. IPV6 มีรูปแบบของ IP ADDRESS อยู่ทั้งหมดเท่าไร
ก. 9 ประเภท
ข. 6 ประเภท
ค. 7 ประเภท
ง. 5 ประเภท
เฉลย ค.
33. เมื่อจัดอันดับประเทศที่ได้รับการจัดสรรหมายเลข IPV6 มากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งคือ
ก. ญี่ปุ่น
ข. สหรัฐอเมริกา
ค. เวียดนาม
ง. อังกฤษ
เฉลย ข.
34. เมื่อจัดอันดับประเทศที่ได้รับการจัดสรรหมายเลข IPV6 มากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งคือ
ก. ญี่ปุ่น
ข. สหรัฐอเมริกา
ค. เวียดนาม
ง. อังกฤษ
เฉลย ข.
35. ข้อใดคือข้อเสียของ IPV6
ก. มีหมายเลข IP Address มากกว่าเดิมมาก ทำให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้
ข. เครือข่ายมีความน่าเชื่อถือมากขึ้นกว่าเดิม เพราะเป็นการใช้งาน IP จริงทั้งหมด ต่างจากแต่ก่อนที่ไม่สามารถใช้งานได้ทุกเบอร์
ค. มีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี
ง. ประเทศไทยยังมีการติดตั้งเครือข่าย IPv6 ไม่มากนัก จะเกิดขึ้นกับคนบางกลุ่มหรือกับผู้ให้บริการรายใหญ่ๆเท่านั้น
เฉลย ค.

วันจันทร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ข้อสอบ 60 ข้อ
1. ข้อใดคือ 11001010.00011101.00111001.00000010
ก. 202.50.5.3
ข.202.53.3.2
ค. 202.29.57.2
ง.202.29.52
เฉลย ค. 202.29.57.2 ง.202.29.52

2.ข้อใดคือ 0111110.1.00011000.10011011.01000010
ก. 125.20.155.66
ข. 125.24.155.66
ค. 125.50.15.66
ง. 120.25.55.58
เฉลย ข. 125.24.155.66

3.42.58.5.29 คือ IP Class อะไร
ก. A
ข. B
ค. C
ง. D

4.IP Class A รองรับได้กี่ Host
ก. 2^10 Host
ข. 2^16 Host
ค. 2^14 Host
ง. 2^8 Host
เฉลย ก. 2^10 Host
5. IP Private Class C รองรับได้กี่ Host
ก. 2^10 Host
ข. 2^16 Host
ค. 2^14 Host
ง. 2^8Host
เฉลย ง. 2^8Host
6. คลาสของ Network ข้อใดคือ class A
ก. N.N.N.H
ข. N.H.H.H
ค. N.H.N.H
ง. H.H.H.N
เฉลย ข. N.H.H.H
7.คลาสของ Network ข้อใดคือ Class C
ก. N.N.N.H
ข. N.H.H.H
ค. N.H.N.H
ง. H.H.H.N
เฉลย ก. N.N.N.H

8.Private IP Addresses Class B คือ
ก. 192.168.0.0 through 192.168.255.255
ข. 172.16.0.0 through 172.16.255.255
ค. 10.0.0.0 through 10.255.255.255
ง. 172.16.0.0 through 172.31.255.255
เฉลย ง. 172.16.0.0 through 172.31.255.255

9.Broadcast Address ของ Class C คือ
ก. 255.255.255.254
ข. 255.255.255.256
ค. 255.255.255.255
ง. 255.255.255.0
เฉลย ค. 255.255.255.255

10.ข้อใดคือ Private IP Address
ก. 12.0.0.1
ข. 172.20.14.36
ค. 168.172.19.39
ง. 172.33.194.30
เฉลย ข. 172.20.14.36
11.Subnet Mask ของ /17 คือ
ก. 255.255.128.0
ข. 255.248.0.0
ค. 255.255.192.0
ง. 255.255.248.0
เฉลย ก. 255.255.128.0
12.Subnet Mask ของ /25 คือ
ก. 255.255.128.0
ข. 255.255.255.128
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.240
เฉลย ข. 255.255.255.128
13.Subnet Mask ของ /20 คือ
ก. 255.255.240.0
ข. 255.240.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.240
เฉลย ก. 255.255.240.0
14.Network Mask ของ Class C คือ
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. ถูกเฉพาะ ข้อ ข.
เฉลย ง. ถูกเฉพาะ ข้อ ข.
15.network Mask ของ Class C คือ
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. ถูกทุกข้อ.
เฉลย ค. 255.255.255.0
16.สัญลักษณ์ของการ Mark คือ
ก. #
ข. \
ค. .
ง. /เฉลย ง. /
17.CIDR คือ
ก. การจัดสรร Subnet แบบไม่แบ่งคลาส
ข. การจัดสรร IP แบบไม่แบ่งคลาส
ค. การหาเส้นทางแบบไม่แบ่งคลาส
ง. การจับรอดแคสสัญญาณข้อมูล แบบไม่แบ่งคลาส
เฉลย
18.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 3 Bit ของ Class C มี CIDR เท่ากับ
ก. /21
ข. /25
ค. /27
ง. /29
เฉลย ค. /27
19.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 5 Bit ของ Class B มี CIDR เท่ากับ
ก. /15
ข. /17
ค. /19
ง. /21
เฉลย ง. /21
20.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 8 Bit ของ Class B มี CIDR เท่ากับ
ก. /16
ข. /20
ค. /24
ง. /27
เฉลย ค. /24
21.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 5 Bit ของ Class A มี CIDR เท่ากับ
ก. /13
ข. /21
ค. /30
ง. ผิดทุกข้อ
เฉลย ก. /13
22.จำนวน Host ของการ Mark 4 Bit Class C เท่ากับเท่าใด
ก. 2024 Host
ข. 254 Host
ค. 18 Host
ง. 14 Host
เฉลย ง. 14 Host
23.จำนวน Host ของการ Mark 5 Bit Class C เท่ากับเท่าใด
ก. 2 Host
ข. 6 Host
ค. 14 Host
ง. 30 Host
เฉลย ข. 6 Host
24.จำนวน Subnet ของการ Mark 4 Bit Class A เท่ากับเท่าใด
ก. 2 Subnets
ข. 6 Subnets
ค. 14 Subnets
ง. 30 Subnets
เฉลย ค. 14 Subnets
25. จำนวน Subnet ของการ Mark 6 Bit Class B เท่ากับเท่าใด
ก. 14 Subnets
ข. 30 Subnets
ค. 62 Subnets
ง. 126 Subnets
เฉลย ค. 62 Subnets
26.จำนวน Host ที่เชื่อมต่อได้สูงสุดของ 255.255.255.224
ก. 28 Hosts
ข. 32 Hosts
ค. 30 Hosts
ง. 62 Hosts
เฉลย ค. 30 Hosts
27.จำนวน Host ที่เชื่อมต่อได้สูงสุดของ 255.255.255.192
ก. 28 Hosts
ข. 32 Hosts
ค. 30 Hosts
ง. 62 Hosts
เฉลย ง. 62 Hosts
28.จำนวนวน Host ที่เชื่อมต่อได้สูงสุดของ 255.255.255.192
ก. 4094 Hosts
ข. 521 Hosts
ค. 1024 Hosts
ง. 128 Hosts
เฉลย ก. 4094 Hosts
29.ต้องการใช้ Subnet จำนวน 29 Subnet จะยืม (Mark) จาก คลาส A เท่าไดไหร่
ก. 3
ข. 4
ค. 5
ง. 6
เฉลย ค. 5
30.จากข้อ 29 Subnet Mask ที่แสดงคือ
ก. 255.192.0.0
ข. 255.255.255.248
ค. 255.255.248.0
ง. 255.248.0.0
เฉลย ง. 255.248.0.0
31.ข้อไดไม่ใช่ Sub network ID สำหรับเครื่องที่ใช้ IP Address หมายเลข 200.10.5.68/28
ก. 200.10.5.56
ข. 200.10.5.32
ค. 200.10.5.64
ง. 200.10.5.0
32.ข้อใดคือ Network Address ของหมายเลข172.16.0.0/19
ก. 8 Subnets ; 2,046 Hosts
ข. 8 Subnets ; 8,198 Hosts
ค. 7 Subnets ; 30 Hosts
ง. 7 Subnets ; 62 Hosts
33.ข้อใดคือ Subnet ของ IP address 172.16.210.0/22
ก. 172.16.208.0
ข. 172.16.254.0
ค. 172.16.107.0
ง. 172.16.254.192
34.ข้อใดคือ Subnet ของ IP Address 201.100.5.68/28
ก. 201.100.5.31
ข. 201.100.5.64
ค. 201.100.5.65
ง. 201.100.5.1
35. ข้อใดคือ Subnet ของ IP Address 172.16.11.1/25
ก. 172.16.112.0
ข. 172.16.0.0
ค. 17.16.96.0
ง. 172.15.255.0กำหนด IP Address 192.168.1.1/28 จงคำนวณหา Sub network ID IP Usage และ Broadcast แลัวตอบคำถาม
36.หมายเลยใด ไม่สามารถใช้ได้
ก. 192.168.1.13
ข. 192.158.1.226
ค. 193.168.1.31
ง. 192.168.1.253
37.หมายาเลยใด เป็น Sub network Id ของ Subnet ที่ 00001000
ก. 192.168.1.13
ข. 192.168.1.226
ค. 192.168.1.31
ง. 192.168.1.253
38.หมายเลขใด เป็น Broadcast ID ของ Subnet ที่ 000010000
ก. 192.168.1.13
ข. 192.168.1.16
ค. 192.168.1.31
ง. 192.168.1.32
39.หมายเลขใด เป็น Sub network ID ของ Subnets ที่ 001100000
ก. 192.168.1.63
ข. 192.168.1.45
ค. 192.168.1.48
ง. 192.168.1.111
40.หมายเลขใด เป็น Broadcast ID ของ Subnet ที่ 001100000
ก. 192.168.1.63
ข. 192.168.1.45
ค. 192.168.1.48
ง. 192.168.1.100
41.หมายเลขใด เป็น IP Usage ของ Subnet ที่ 001100000
ก. 192.168.1.50
ข. 192.168.1.96
ค. 192.168.1.81
ง. 192.168.1.10กำหนด IP Address 102.168.1.1/27 จงคำนวณหา Sub network Id IP Usage และ Broadcast แล้วตอบคำถาม
42. ข้อใดไม่เข้าพวก
ก. 192.168.1.1
ข. 192.16.1.95
ค. 192.168.33
ง. 192.168.1.124
43.ข้อใดไม่เข้าพวก
ก. 192.168.1.0
ข. 192.168.1.06
ค. 192.168.32
ง. 192.168.1.159
44.หมายเลขใด ไม่สามารถใช้ได้
ก. 192.168.1.193
ข. 192.168.1.161
ค. 192.16.1.127
ง. 192.168.1.60
45.ข้อใดคือ IP Usage ของ Dub network 192.168.1.96
ก. 192.168.1.0 -192.168.1.31
ข. 192.168.1.65 - 192.168.1.04
ค. 192.168.1.97 – 192.168.1.126
ง. 192.168.1.95 – 192.168.1.127จงใช้ภาพด้านล่างตอบคำถามข้อ
46-50กำหนดให้ใช้ IP Private Network Class C 192.168.1.1NET_A :13 HostsNET_B :50 HostsNET_C :2 HostsNET_D :25 Hosts46.Net_D ควรใช้ / อะไร
ก. /26
ข. /27
ค. /28
ง. /29
47.จาก Network ข้างต้น ใช้ Sub net mask อะไรจึงจะรองรับได้ทุก Network
ก. /26
ข. /27
ค. /28
ง. /29
48.Net_C มีหมายเลย Sub net mask อะไร
ก. 255.255.255.192
ข. 255.255.255.254
ค. 255.255.255.248
ง. 255.266.255.252
49.Net_B มีหมายเลข Subnet Mask อะไร
ก. 255.255.255.192
ข. 255.255.255.254
ค. 255.255.255.248
ง. 255.255.2555.252
50.หากใช้ /26 หมายเลข Sub network IP ของ Network สุดท้ายคือ
ก. 102.168.1.128
ข. 192.168.1.192
ค. 192.168.1.191
ง. 192.168.1.255
51.จากภาพด้านบนเกิดจากการใช้คำสั่งใด
ก. Arq –a
ข. Netstat
ค. Nslookup
ง. Tracert
52. จากภาพด้านบนเกิดจากการใช้คำสั่งใด
ก. Arp-a
ข. Netstat
ค. Nslookup
ง. Ipconfig/all
53.จากภาพด้านบนเกิดจากการใช้คำสั่งใด
ก. Tracert-a
ข. Netstat
ค. Nslookup
ง. Ipconfig/all
54.การใช้คำสั่งตรวจสอบดู computer Name คือ
ก. Ipconfig
ข. Nslookup
ค. Nostname
ง. Tracert
55.การใช้คำสั่งตรวจสอบดู IP และ Subnet Mask คือ
ก. IPconfig
ข. Nslookup
ค. Hostname
ง. Tracert
56.การตรวจสอบการเชื่อมต่อระหว่างต้นทางและปลายทางคือ
ก. Ipconfig
ข. Nslookup
ค. Hostname
ง. Tracert
57.Destination Host Unreachable หมายความว่า
ก. ติดตั้ง IP ที่ Host ไม่ถูกต้อง
ข. ติดตั้ง Card LAN ไม่ถูกต้อง
ค. Host ไม่ถูกเชื่อมต่อกับเครื่องที่ PING
ง. HOST ไม่ถูกเชื่อมต่อกับระบบ
58.Tracert คือ
ก. การหาเส้นทางการเชื่อมต่อจากต้นทางไปปลายทาง
ข. การหาเส้นทางการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์
ค. การตรวจสอบสถานะของระบบเครือข่าย
ง. ตรวจสอบความผิดพลาดของ Packet
59.การเข้าหน้า CMD ทำอย่างไรในครั้งแรก
ก. Start > run > cmd
ข. Start > run > connand
ค. Start > allprogram > accessories> command prompt
60.ARP(Address Resolution Protocol) หรือหมายเลข LAN Card มีกี่ไบต์
ก. 6 Bit
ข. 16 Bit
ค. 8 Bit
ง. 32 Bit

วันจันทร์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2552

Etternet (IEEE802.3)

**********Etternet ( IEEE802.3)************


IEEE 802.3 หรือ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) เป็นเครือข่ายที่มีความเร็วสูงการส่งข้อมูล 10 เมกะบิตต่อวินาที สถานีในเครือข่ายอาจมีโทโปโลยีแบบัสหรือแบบดาว IEEE ได้กำหนดมาตรฐานอีเทอร์เน็ตซึ่งทำงานที่ความเร็ว 10 เมกะบิตต่อวินาทีไว้หลายประเภทตามชนิดสายสัญญาณเช่น

• 10Base5 อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบบัสซึ่งใช้สายโคแอกเชียลแบบหนา (Thick Ethernet) ความยาวของสายในเซกเมนต์หนึ่ง ๆ ไม่เกิน 500 เมตร

• 10Base2 อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบบัสซึ่งใช้สายโคแอ๊กเชียลแบบบาง (Thin Ethernet) ความยาวของสายในเซกเมนต์หนึ่ง ๆ ไม่เกิน 185 เมตร

• 10BaseT อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบดาวซึ่งใช้ฮับเป็นศูนย์กลาง สถานีและฮับเชื่อมด้วยสายยูทีพี (Unshield Twisted Pair) ด้วยความยาวไม่เกิน 100 เมตรรูปที่ข้างล่าง แสดงถึงลักษณะเครือข่ายอีเทอร์เน็ตแยกตามประเภทของสายสัญญาณ รหัสขึ้นต้นด้วย 10 หมายถึงความเร็วสายสัญญาณ 10 เมกะบิตต่อวินาที คำว่า “Base” หมายถึงสัญญาณชนิด “Base” รหัสถัดมาหากเป็นตัวเลขหมายถึงความยาวสายต่อเซกเมนต์ในหน่วยหนึ่งร้อยเมตร (5=500, 2 แทนค่า 185) หากเป็นอักษรจะหมายถึงชนิดของสาย เช่น T คือ Twisted pair หรือ F คือ Fiber opticsส่วนมาตรฐานอีเทอร์เน็ตความเร็ว 100 เมกกะบิตต่อวินาทีที่นิยมใช้ในปัจจุบันได้แก่ 100BaseTX และ 100BaseFX สำหรับอีเทอร์เน็ตความเร็วสูงแบบกิกะบิตอีเทอร์เน็ตเริ่มแพร่หลายมากขึ้น ตัวอย่างของมาตรฐานกิกะบิตอีเทอร์เน็ตในปัจจุบันได้แก่ 100BaseT, 100BaseLX และ 100BaseSX เป็นต้น











****************สรุป***************
ในปัจจุบันมาตราฐานGigabit Ethernet (IEEE802.3z)ยังอยู่ในระหว่างการพิจารณาประกาศใช้อย่างเป็นทางการ ซึ่งหมายความว่าอาจจะมีการปรับปรุงแก้ไขในรายละเอียดของค่าพารามิเตอร์ต่างได้อีก จึงนับเป็นการเร็วเกินไปที่จะจัดหาอุปกรณ์GigabitEthernet ในท้องตลาดมาใช้ทั้งนี้เนื่องด้วยเหตุผลทางด้านความเข้ากันได้กับอุปกรณ์ในแบบเดียวกันของต่างผู้ผลิตซึ่'อาจwbr>wbr>r>wb>r>br>wbr>b<br>wbrbr>wbr และ Gigabit Ethernet ก็ไม่สารมารถจะใช้ทดแทนเทคโนโลยี ATM ได้ ดังนั้นการนำ Gigabit Ethernet มาใช้ให้ได้ประโยชน์สูงสุดก็คือการนำมาเพิ่มประสิทธิ์ภาพในการรับส่งข้อมูลของเครือข่าย Ethernet ที่มีอยู่เดิมให้ดีขึ้นดังที่กล่าวมาแล้ว

***********10 mbps ***********

ความเร็ว 100 Mbps ตรงมุมขวาล่างของคอมเราเป้น ความเร็วของ สาย Eternet ที่ทำการต่อรองกับ Lan Card ของท่านว่าจะใช้ ในแบบ 100 Mbps Full Duplex หรือจะใช้แบบ 10 Mbps Half Duplex ครับ ซึ่งมันจะวิ่งที่ ความเร็ว 10 หรือ100 mbps ขึ้นอยู่กับ lan Card และ interface ของ switch ของท่านครับ สังเกต ตรง 10/100 นั้นแหละครับ คือรองรับทั้ง 10 และ 100 mbps อุปกรณ์ Router ของ ToT ที่แถมมาให้นั้น มันเอาความสามารถของ Modem Router ไปรวมกับความสามารถของ Switch หรือ Hub ครับ พอดีผมไมได้ใช้ Router ของ ToT ที่มันแถมมาให่งะ เลยไม่รู้ ครับส่วน เหตุใดถึงจะได้ 100 หรือ 10 ขึ้นอยู่กับ อุปกรณ์ครับ ถ้าใช้ hub จะเป็น 10 Mbps และสื่อสารแบบ Half Duplex เพราะว่ามันใช้ ช่องทางเดียวกันทุก port ทำให้อาจจะเกิดการชนกนของข้อมูลได้ จึงมีการใช้ อัลกอรึทึม CSMA/CD เพื่อป้องกันการชนกันของข้อมูลครับ และสาเหตุที่มันส่งแบบ Half Duplux ก็เพราะเจ้า CSMA/CD นั้นแหละ ถ้าจะให้อธิบายถึงสาเหตุจริงๆนั้นยาวมากๆๆๆเลย ว่าเหตุใดที่ใช้ csma/cd แล้วมันถึงต้องสื่อสารแบบ half duplexส่วน Switch ทำไมมันส่งข้อมูลแบบ 100 Mbps ก็เพราะ1. ความทันสมัยของตัว เทคโนโลยีใน Switch2. มันส่งข้อมูลแบบของใครของมันฉะนั้น ข้อมูลจะไม่มีการชนกัน เว้นแต่ buffer และ Controller ของ Switch จะประมวลผลการรับส่งข้อมูลไม่ไหวเท่านั้นเอง เกินความสามารถของ hardware หรือ ข้อมูลมีจำนวนมากๆเกิน banwidth ของ สาย และ interface เท่านั้น3. เมื่อมันไม่มีการชนกัน ฉะนั้น อัลกอริทึม CSMA/CD จึงไม่จำเป็นต้องใช้ มันเลยทำการ disable แกทำให้สามารถสื่อสารแบบ Full Duplex และ ที่ความเร็ว 100 Mbps ได้ครับ
100 mbps ( cigabit Ehernet )

แบบฝึกหัด

**************แบบฝึกหัด**************

(1) สถาปัตยกรรมระบบเครือข่าย (Topology)แบบใดนิยมใช้มากที่สุด
ก. Bus Topology
ข. Ring Topology
ค. Star Topology
ง. Hybridge Topology
ง.เพราะมีราคาแพงจึงไม่ค่อยมีผู้นิยมใช้มากนัก

(2) ข้อใดไม่ใช่ข้อดีของ Bus Topology
ก. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก
ข. สามารถขยายระบบได้ง่าย
ค. เสียค่าใช้จ่ายมาก
ง. เสียค่าใช้จ่ายน้อย
ค. เพราะ ข้อดีของ Bus Topology ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก

(3) เครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกเชื่อมต่อกันโดยผ่ายสายสัญญาณแกนหลัก แบ็คโบน (Backbone) คือรูปแบบใด
ก. MESH
ข. RING
ค. STAR
ง. BUS
ง. เพราะ คือ สายรับส่งสัญญาณข้อมูลหลัก ใช้เป็นทางเดินข้อมูลของทุกเครื่องภายในระบบเครือข่าย และจะมีสายแยกย่อยออกไปในแต่ละจุด เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ซึ่งเรียกว่าโหนด (Node)

(4) ทิศทางในการส่งผ่านข้อมูลแบบ Ring Topology เป็นแบบใด
ก. ส่งข้อมูลมายัง HUB หรือเครื่องศูนย์กลางก่อน แล้ว HUB ก็จะทำหน้าที่กระจายข้อมูลนั้นไปในเครือข่ายต่อไป
ข. ส่งข้อมูลแบบแยกย่อยออกไป
ค. ส่งข้อมูลทิศทางเดียวจากเครื่องสู่เครื่อง
ง. ส่งข้อมูลไปกลับ ได้ทุกเครื่องตอบ
ค. เพราะ การส่งผ่านข้อมูลแบบ Ring Topology จะไม่มีการชนกันของสัญญาณ ข้อมูลที่ส่งออกไปในทิศทางเดียวจากเครื่องสู่เครื่อง

(5) Topology แบบใด สามารถป้องกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นกับระบบได้ดีที่สุด
ก. BUS
ข. MESH
ค. RING
ง. STAR
ข. เพราะ รูปแบบ Mesh ได้แก่ แต่ละ Link รับผิดชอบเพียงอุปกรณ์ 2 ตัว จึงไม่เกิดปัญหา

(6) Topology แบบวงแหวนมีชื่อเรียนเป็นภาษาอันกฤษว่าอย่างไร
ก.king
ข.ring
ค.server ring
ง.server king
ข.ring

(7) Topology แบบวงแหวนมีทิศทางเดียวกัน โดยมีจุดปลายหรือเทอร์มิเนเตอร์เช่นเดียวกับเครือยข่ายแบบใด
ก.star
ข.Hybrid
ค.Bus
ง.Mesh
ง.bus

แหล่งที่มา
http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2545/activity7/topology.htmhttp://guru.google.co.th/guru/thread?tid=7098f797c7c0afea